จำนวนจริง จะประกอบไปด้วย
| ||
1. จำนวนอตรรกยะ หมายถึง จำนวนที่ไม่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็ม หรือทศนิยมซ้ำได้ ตัวอย่างเช่น √2 , √3, √5, -√2, - √3, -√5 หรือ ¶ ซึ่งมีค่า 3.14159265...
| ||
2. จำนวนตรรกยะ หมายถึง จำนวนที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็มหรือทศนิยมซ้ำได้ ตัวอย่างเช่น
| ||
เขียนแทนด้วย 0.5000...
| ||
เขียนแทนด้วย 0.2000...
| ||
• ระบบจำนวนตรรกยะ
| ||
จำนวนตรรกยะยังสามารถแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
| ||
1. จำนวนตรรกยะที่ไม่ใช่จำนวนเต็ม หมายถึง จำนวนที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนหรือทศนิยมซ้ำได้ แต่ไม่เป็นจำนวนเต็ม ตัวอย่างเช่น
| ||
2. จำนวนเต็ม หมายถึง จำนวนที่เป็นสมาชิกของเซต I = {..., -4, -3, -2, -1, 0, 1, 2, 3, 4, ...} เมื่อกำหนดให้ I เป็นเซตของจำนวนเต็ม
| ||
• ระบบจำนวนเต็ม
| ||
จำนวนเต็มยังสามารถแบ่งไอ่านเพิ่มเติม
|
วันพุธที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2559
จำนวนจริง
ฟังก์ชัน
ฟังก์ชัน คือความสมั พนัธ
์
ซึ่งในสองคู่อนัดบัใดๆ ของความสมั พนัธ
์
น้นั ถา
้สมาชิกตวั
หนา
้
เหมือนกนัแลว
้ สมาชิกตัวหลังต้องไม่ต่างกัน การกำหนดฟังก์ชัน
1. กำ หนดโดยเซตแจกแจงสมาชิก
2. กำหนดโดยตารางคู่อนัดบั เช่น
x 1 2 3
y a b c
3. กำหนดโดยแผนภาพแสดงการจัคู่ระหว่างสมาชิกในเซต
4. กา หนดโดยการบอกเงื่อนไขของสมาชิกในเซตของความสมั พนัธ
์
r เช่น
f = {( x , y ) R R | y = 2x + 1} 5. กา หนดโดยกราฟอ่านเพิ่มเติม
f = {( x , y ) R R | y = 2x + 1} 5. กา หนดโดยกราฟอ่านเพิ่มเติม
เลขยกกำลัง
คือ การคูณตัวเลขนั้นๆตามจำนวนของเลขชี้กำลัง ซึ่งตัวเลขนั้นๆจะคูณตัวของมันเองและเมื่อแทน a เป็นจำนวนใด ๆ และแทน n เป็นจำนวนเต็มบวก โดยที่มี a เป็นฐานหรือตัวเลข และ n เป็นเลขชี้กำลัง(an) จะได้ว่า a คูณกัน n ตัว (axaxaxaxax…xa)
ตัวอย่าง 25 เป็นเลขยกกำลัง ที่มี 2 เป็นฐานหรือตัวเลข และมี 5 เป็นเลขชี้กำลัง และ25 = 2x2x2x2x2 = 32
ตัวอย่าง 25 เป็นเลขยกกำลัง ที่มี 2 เป็นฐานหรือตัวเลข และมี 5 เป็นเลขชี้กำลัง และ25 = 2x2x2x2x2 = 32
สมบัติของเลขยกกำลัง 1. สมบัติการคูณเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก เมื่อ a เป็นจำนวนใด ๆ และ m, n เป็นจำนวนเต็มบวกอ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)